Experience of Volunteer Health Workers
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 13 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 63
จอนผะจง เพ็งจาด* กนกพร จิวประสาท** นภาพร พีรกวี**
บทคัดย่อ
การวิจัยปรากฏการณ์วิทยาเชิงตีความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การทำางานของ
อาสาสมัครด้านสุขภาพ เขตกรุงเทพมหานคร จำานวน 8 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติเข้าร่วมการวิจัย
เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา โดยการถอดบทสนทนา และ
จัดกลุ่มสาระเนื้อหา ตามวิธีการของเบนเนอร์ ผลการศึกษาประสบการณ์การเป็นอาสาสมัครด้านสุขภาพ
ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1) ความหมายของการเป็นอาสาสมัคร คือ ทำางานตามที่ได้รับมอบ
หมายเป็นหลัก เพื่อการดำาเนินกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย แตกต่างจากการเป็นจิตอาสา ที่เป็นกระทำา
ที่เกิดจากใจที่ต้องการจะให้หรือช่วยเหลือในสิ่งที่ตนเองคิดว่าจะเป็นประโยชน์กับผู้อื่นหรือส่วนรวม เป็นการ
กระทำาด้วยความเต็มใจ ไม่มีผลประโยชน์หรือค่าตอบแทน 2) การเข้ามาเป็นอาสาสมัคร เกิดจากการ
ชักชวนของคนรู้จัก ประเมินตนเองว่าสามารถทำางานได้ และมีความชอบในงานอาสาสมัคร 3) การทำางาน
ของอาสาสมัคร เป็นงานที่ได้รับมอบหมาย มีกิจกรรมหลากหลาย ต้องอาศัยความสามารถหลายด้าน
ประกอบด้วย งานด้านการสำารวจชุมชน การให้ข้อมูลด้านสุขภาพ การเยี่ยมบ้าน การช่วยเหลือผู้ป่วย
เรื้อรังและติดเตียงในชุมชน และงานด้านบริการสังคม 4) ผลที่ได้รับจากการทำางานอาสาสมัคร ได้แก่
เหนื่อยทั้งกายและใจจากการทำางาน มีความสุขที่เป็นผู้ให้ มีความภาคภูมิใจในตนเอง ได้รับสิ่งดี ๆ เข้ามา
ในชีวิตและได้เรียนรู้ นำาประสบการณ์มาดูแลสุขภาพตนเอง 5) ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
ในชุมชน อาสาสมัครมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับความตายและการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย แต่ไม่มั่นใจที่จะเข้าไป
ช่วยเหลือดูแลเพราะขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและระยะท้าย
คำสำคัญ: ประสบการณ์การทำงาน อาสาสมัครสุขภาพ การดูแลระยะสุดท้าย
Abstract
The objective of this interpretive phenomenology study is to investigate the work
experiences of volunteer health workers. Eight health volunteers working within the
community in Bangkok were purposive selected to participate in recorded in-depth
interviews. The data was extracted and transcribed verbatim using Benner’s content
analysis method. Thematic analysis revealed five major themes that characterized the
experiences of working as volunteer health workers. The themes were: 1) the meaning of
volunteerism including (a) working and carrying out activities as assigned and (b) the act
of the heart that wants to give or help others or the public through a willful action
without any self-benefit or compensation; 2) becoming a volunteer health worker including
being invited by friends, self-evaluation of workability, and having a passion for volunteer
work; 3) the work of volunteer health workers involves a variety of activities and requires
many skills including conducting community health surveys, providing health information,
visiting homes, assisting chronically ill and bed-ridden patients, and engaging in social
services; 4) the results of volunteer work includes mentally and physically exhaustion from
the work, feeling accomplishment as the giver, proud of oneself, get good thing come to
life, and learn from experiences and apply them to take care of one’s own health; and
5) experience in end of life care. All participants had a positive attitude toward death and
caring for end of life patients, but they reported having less confidence to assist and
provide care due to a lack of knowledge and skills in this aspect. The results reflect the
roles of volunteer health workers that benefit the community and the obstacles to achieving
the responsible tasks. The important needs are the volunteer recruitment system and
training program to improve both knowledge and experiences that covers community health
care needs, especially care for chronically ill, elderly, and end of life patients. Moreover,
volunteers support and team building exercises should be strengthened in order to achieve
good health outcomes.
Keywords: work experience, volunteer health workers, end of life care